Chiangmaihealth.go.th



ตัวชี้วัดงาน NCD

ปี 2560

ชี้แจง วันที่ 6 มกราคม 2560

|หมวด |Promotion & Prevention Excellence |

| |(ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ) |

|แผนที่ |2. การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ |

|โครงการที่ |3. โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อและภัยสุขภาพ |

|ลักษณะ |Lagging Indicator |

|ระดับการวัดผล |จังหวัด |

|ตัวชี้วัด(เชิงปริมาณ) |20. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ (ร้อยละ) |

|คำนิยาม |ผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูง หมายถึง |

| |ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าป่วยจากโรคความดันโลหิตสูงในทุกกลุ่มอายุ (รหัสโรค ICD10 = I10 – I15) |

| |ผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวาน หมายถึง |

| |ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าป่วยจากโรคเบาหวาน ในทุกกลุ่มอายุ (รหัสโรค ICD10 = E10-E14) |

|เกณฑ์เป้าหมาย : |

|ปีงบประมาณ 60 |

|ปีงบประมาณ 61 |

|ปีงบประมาณ 62 |

|ปีงบประมาณ 63 |

|ปีงบประมาณ 64 |

| |

|อัตราการเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 |

|อัตราการเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.50 |

|อัตราการเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.75 |

|อัตราการเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 1 |

|อัตราการเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 1.25 |

| |

|1.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 536 คน |

|ต่อแสนประชากร |

|2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ 258 คน |

|ต่อแสนประชากร |

|1.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 531 คน |

|ต่อแสนประชากร |

|2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ 256 คน |

|ต่อแสนประชากร |

|1.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 526 คน |

|ต่อแสนประชากร |

|2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ 254 คน |

|ต่อแสนประชากร |

|1.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 521 คน. |

|ต่อแสนประชากร |

|2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ 252 คน |

|ต่อแสนประชากร |

|1.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 516 คน |

|ต่อแสนประชากร |

|2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ 250 คน |

|ต่อแสนประชากร |

| |

|วัตถุประสงค์ |เพื่อลดอัตราการเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง |

| |เพื่อลดอัตราการเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่โรคเบาหวาน |

|ประชากรกลุ่มเป้าหมาย |ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าป่วยจากโรคความดันโลหิตสูงใน |

| |ทุกกลุ่มอายุ (รหัสโรค ICD10 = I10 – I15) |

| |ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าป่วยจากโรคเบาหวานในทุกกลุ่มอายุ (รหัสโรค ICD10 = E10-E14) |

|วิธีการจัดเก็บข้อมูล |บันทึกผ่านโปรแกรมพื้นฐานของหน่วยบริการ และส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานข้อมูล 43 แฟ้ม เข้าสานักงานสาธารณสุขจังหวัด |

|แหล่งข้อมูล |ใช้ฐานข้อมูล HDC ของ Data Center จังหวัด |

|รายการข้อมูล 1 |A = อัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูง ทุกกลุ่มอายุ ก่อนปีงบประมาณที่วิเคราะห์ (ใช้ตัวเต็ม) |

|รายการข้อมูล 2 |B = อัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูง ทุกกลุ่มอายุ ในปีงบประมาณที่วิเคราะห์ (ใช้ตัวเต็ม) |

|รายการข้อมูล 3 |C = อัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวาน ทุกกลุ่มอายุ ก่อนปีงบประมาณที่วิเคราะห์ (ใช้ตัวเต็ม) |

|รายการข้อมูล 4 |D = อัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวาน ทุกกลุ่มอายุ ในปีงบประมาณที่วิเคราะห์ |

| |(ใช้ตัวเต็ม) |

|สูตรคำนวณตัวชี้วัด |((B – A)/A) x 100 |

|(ความดันโลหิตสูง) | |

|สูตรคำนวณตัวชี้วัด (เบาหวาน) |((D – C)/C) x 100 |

|ระยะเวลาประเมินผล |ทุก 1 ปี (ปีงบประมาณ) |

|เกณฑ์การประเมิน : วัดผลลัพธ์อัตราผู้ป่วยรายใหม่โดยประเมินผลปีละ 1 ครั้ง ในรอบ 12เดือน |

|ปี 2560 : |

|รอบ 3 เดือน |

|รอบ 6 เดือน |

|รอบ 9 เดือน |

|รอบ 12 เดือน |

| |

| |

| |

| |

|อัตราการเพิ่มของ |

|ผู้ป่วยรายใหม่ลดลง |

|ร้อยละ 0.25 |

| |

| |

| |

| |

|1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 536 คน |

|ต่อแสนประชากร |

|2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ 258 คน |

|ต่อแสนประชากร |

| |

|วิธีการประเมินผล |- วัดผลลัพธ์จากรายงานตัวชี้วัดอัตราป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง |

| |- วัดผลลัพธ์จากรายงานตัวชี้วัดอัตราป่วยรายใหม่โรคเบาหวาน |

|เอกสารสนับสนุน |- คู่มือการจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงานแบบบูรณาการ 2558 |

|รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน |

|Baseline data |

|หน่วยวัด |

|ผลการดาเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. |

| |

| |

| |

|2557 |

|2558 |

|2559 |

| |

|อัตราการเพิ่มของผู้ป่วย(โรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน)รายใหม่ลดลง |

|DM รายใหม่ ( < 258 ) |

|HT รายใหม่ ( < 536 ) |

|ต่อประชากรแสนคน |

|DM = |

|HT = |

|DM = |

|HT = |

|DM = |

|HT = |

| |

|ที่มา : ฐานข้อมูล HDC กระทรวงสาธารณสุข |

|ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ |นางสุจันทร์ ขันตี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ |

|ผู้ประสานงานตัวชี้วัด |โทรศัพท์ :08-6672-3937 |

|หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล |งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ |

|ผู้รับผิดชอบรายงาน |นางสุจันทร์ ขันตี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ |

|ผลการดำเนินงาน |โทรศัพท์ :08-6672-3937 |

|ผู้กำกับตัวชี้วัด |นางกุลวดี สวัสดี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่โทรศัพท์ : 0 5321 1048-50|

| |ต่อ 114 |

|หมวด |Service Excellence (บริการเป็นเลิศ) |

|แผนที่ |6. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) |

|โครงการที่ |1. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง |

|ลักษณะ |Leading Indicator |

|ระดับการวัดผล |เขต |

|ตัวชี้วัด(เชิงปริมาณ) |32. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ |

|คำนิยาม |ระดับค่าน้าตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ หมายถึง |

| |ค่าระดับ HbA1c ครั้งสุดท้าย < ร้อยละ 7 ในปีงบประมาณที่วิเคราะห์ หรือ |

| |ค่าระดับ Fasting Plasma Glucose (FPG) 2 ครั้งที่ติดต่อกัน มีค่าระหว่าง 80 – 130 มก./ดล. ในปีงบประมาณที่วิเคราะห์ |

| |ผู้ป่วยเบาหวานที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ หมายถึง |

| |ผู้ป่วยที่ถูกวินิจฉัยด้วยรหัสโรค ICD10 = E10 - E14 และ Type area = 1 หรือ 3 |

| |หมายเหตุ : ค่าเป้าหมายการควบคุมน้ำตาลในผู้ป่วยเบาหวาน ให้ใช้ตามแนวทางเวชปฏิบัติส่าหรับโรคเบาหวาน 2557 ซึ่งแบ่งเป็น 3 กลุ่ม |

| |ได้แก่ กลุ่มควบคุมเข้มงวดมาก ควบคุมเข้มงวด และควบคุมไม่เข้มงวด แต่ในการวัดค่าเป้าหมายปี 2559 ให้ใช้แบบเดิม |

| |เพื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา ส่าหรับในปี 2560 อาจมีการปรับเปลี่ยนตามมาตรฐานแนวปฏิบัติ |

| |ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ตามเป้าหมาย หมายถึง |

| |ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีระดับความดันโลหิตในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 2 ครั้ง ที่ติดต่อกัน มีค่า < 140/90 มม.ปรอท. |

| |ในปีงบประมาณที่วิเคราะห์ |

| |ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ หมายถึง |

| |ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยด้วยรหัสโรค ICD10 = I10 - I15 และ Type area = |

| |1 หรือ 3 |

|เกณฑ์เป้าหมาย : ร้อยละของผู้ป่วยที่สามารถควบคุมได้ |

|ปีงบประมาณ |

|เบาหวาน |

|ความดันโลหิตสูง |

| |

|2560 |

|เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี 2559 |

|หรือ มากกว่า 40% |

|เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี 2559 |

|หรือ มากกว่า 50% |

| |

| |

|561 |

|เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี 2560 |

|หรือ มากกว่า 40% |

|เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี 2560 |

|หรือ มากกว่า 50% |

| |

|2562 |

|เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี 2561 |

|หรือ มากกว่า 40% |

|เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี 2561 |

|หรือ มากกว่า 50% |

| |

|2563 |

|เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี 2562 |

|หรือ มากกว่า 40% |

|เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี 2562 |

|หรือ มากกว่า 50% |

| |

|2564 |

|เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี 2563 |

|หรือ มากกว่า 40% |

|เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี 2563 |

|หรือ มากกว่า 50% |

| |

|วัตถุประสงค์ |เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี |

| |เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดี |

|ประชากรกลุ่มเป้าหมาย |ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ในคลินิกบริการเครือข่าย ทั้งหมด (Type area 1,3) |

| |ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ในคลินิกบริการเครือข่าย ทั้งหมด (Type area 1,3) |

|วิธีการจัดเก็บข้อมูล |บันทึกผ่านโปรแกรมพื้นฐานของหน่วยบริการ และส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานข้อมูล 43 แฟ้ม |

|แหล่งข้อมูล |ฐานข้อมูลระดับจังหวัด (HDC) |

|รายการข้อมูล 1 |A = จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ในคลินิกบริการ เครือข่ายทั้งหมดที่ระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ | ................
................

In order to avoid copyright disputes, this page is only a partial summary.

Google Online Preview   Download