หลักสูตร - Faculty of Medicine Siriraj ...



[pic]

หลักสูตร

เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญ

ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม

สาขารังสีวิทยาวินิจฉัย

ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2548

ราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย

หลักสูตร

เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญ

ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม

สาขารังสีวิทยาวินิจฉัย

ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๘

ราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย

คำนำ

ปัจจุบันวิชาการต่างๆ ได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว วิชารังสีวิทยาวินิจฉัยก็เป็นวิชาหนึ่งซึ่งมีความก้าวหน้าทั้งเครื่องมือด้านเครื่องเอกซเรย์ รวมทั้งเครื่อง Computed Tomography , เครื่องคลื่นเสียงความถี่สูง คลื่นแม่เหล็ก ฯลฯ รวมทั้งพัฒนาการในระบบคอมพิวเตอร์ ทำให้ได้องค์ความรู้ใหม่เพิ่มขึ้นอย่างมากมาย

ราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย คณะอนุกรรมการฝึกอบรมและสอบร่วมกับคณาจารย์ของสถาบันฝึกอบรมทั้ง 8 แห่ง ได้ร่วมมือร่วมใจปรับปรุงหลักสูตรและเนื้อหาให้ทันสมัยและครอบคลุมการใช้งานของรังสีแพทย์ทั้งประเทศ นอกจากนี้ได้มีการประชุมร่วมกับสมาคมรังสีรักษา, สมาคมเวชศาสตร์นิวเคลียร์ฯ และสมาคมนักฟิสิกส์การแพทย์ไทย เพื่อพิจารณาหลักสูตร Medical Radiation Physics และ Radiobiology ให้เหมาะสมในการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านแต่ละสาขา อันได้แก่ สาขารังสีวิทยาวินิจฉัย สาขารังสีวิทยาทั่วไป สาขารังสีรักษา และสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์

ขอขอบคุณในความร่วมมือของผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านและหวังว่าหลักสูตรที่ได้ปรับปรุงใหม่นี้จะเป็นประโยชน์แก่วิชาชีพและประเทศชาติต่อไป

(ศาสตราจารย์เกียรติคุณแพทย์หญิงพูนสุข จิตรนุสนธิ์)

ประธานอนุกรรมการฝึกอบรมและสอบความรู้ความชำนาญ

ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขารังสีวิทยาวินิจฉัย

28 ตุลาคม 2547

สารบัญ

หน้า

หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน สาขารังสีวิทยาวินิจฉัย

หลักการและเหตุผลของหลักสูตร, วัตถุประสงค์ 1 – 2

เนื้อหาโดยสังเขปของการฝึกอบรม 3 – 21

ภาคผนวก 1 เกณฑ์มาตรฐานสถาบันฝึกอบรม 22 – 24

ภาคผนวก 2 Basic Radiation Physics 25 – 41

ภาคผนวก 3 Chest Radiology 42 – 47

ภาคผนวก 4 Cardiovascular Radiology 48 – 52

ภาคผนวก 5 Gastrointestinal Radiology 53 – 67

ภาคผนวก 6 Genitourinary Radiology 68 – 79

ภาคผนวก 7 Musculoskeletal Radiology 80 – 84

ภาคผนวก 8 Neuroradiology 85 – 110

ภาคผนวก 9 Pediatric Radiology 111 –126

ภาคผนวก 10 Intervention Radiology 127 – 133

ภาคผนวก 11 รังสีรักษา 134 – 136

ภาคผนวก 12 ตัวอย่างการจัดหมุนเวียนการปฏิบัติงาน

ของแพทย์ประจำบ้าน 137

ภาคผนวก 13 รายนามคณะกรรมการอำนวยการราชวิทยาลัย 138

ภาคผนวก 14 รายนามคณะอนุกรรมการฝึกบอบรมและสอบ 139

ภาคผนวก 15 รายนามคณะอนุกรรมการร่างหลักสูตร 140 – 141

หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน

เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม

สาขารังสีวิทยาวินิจฉัย

1. ชื่อหลักสูตร

(ภาษาไทย) หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขารังสีวิทยาวินิจฉัย

(ภาษาอังกฤษ) Residency Training in Diagnostic Radiology

2. ชื่อวุฒิบัตร

(ภาษาไทย) วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขา

รังสีวิทยาวินิจฉัย

(ภาษาอังกฤษ) Thai Board of Diagnostic Radiology

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

ราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย

4. หลักการและเหตุผล

เนื่องด้วยวิชารังสีวิทยาวินิจฉัยได้มีความก้าวหน้าและพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านเทคโนโลยี ความรู้ และขอบเขตการดูแลรักษาผู้ป่วย ดังนั้น เพื่อให้การฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขารังสีวิทยาวินิจฉัย มีความสอดคล้องกับความก้าวหน้าและพัฒนาทางการแพทย์ในปัจจุบัน จึงมีความจำเป็นที่จะต้องปรับปรุงเนื้อหาของหลักสูตร เพื่อให้ครอบคลุมและเหมาะสมกับความรู้ที่เพิ่มขึ้น และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เพื่อส่งเสริมให้รังสีแพทย์ได้มีเจตนคติที่ดีในอันที่จะนำความรู้ในวิชารังสีวิทยาวินิจฉัยไปใช้ให้เป็นประโยชน์แก่ประชาชนอย่างถูกต้องและเหมาะสม รวมถึงความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ และการศึกษาค้นคว้าต่อไปด้วย

5. กำหนดการเปิดฝึกอบรม

วันที่ 1 มิถุนายน ของทุกปี

6. อาจารย์

เป็นอาจารย์ประจำหรืออาจารย์แบบบางเวลาของสาขารังสีวิทยาวินิจฉัย ภาควิชารังสีวิทยา ของสถาบันนั้นๆ ที่แพทยสภามอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบดูแลการฝึกอบรมที่ได้รับวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขารังสีวิทยาวินิจฉัย หรือ สาขารังสีวิทยาทั่วไป โดยสถาบันฝึกอบรมต้องมีอาจารย์ผู้ฝึกอบรมแบบเต็มเวลาไม่น้อยกว่า 5 คน และอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรมแบบเต็มเวลาของสถาบันฝึกอบรมนั้น จะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม กำหนดให้หัวหน้าของการฝึกอบรมคือ หัวหน้าภาควิชาหรือหัวหน้าหน่วยงานรังสีวิทยาของสถาบันนั้นๆ

7. จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม

ราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทยกำหนดให้สถาบันฝึกอบรมรับผู้เข้าฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านได้ตามจำนวนอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรมตามที่กำหนดในตารางต่อไปนี้

|จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม |1 |2 |3 |4 |5 |6 |7 |

|Cardiovascular radiology |1 |1 |0.5 |0.5 | | |3 |

|Gastrointestinal & hepatobiliary |3 |1.25 |0.5 |0.25 | | |5 |

|radiology | | | | | | | |

|Genitourinary radiology |1.5 |0.75 |0.5 |0.25 | |1 |4 |

|Musculoskeletal radiology |1.5 |0.5 |0.5 |0.5 | | |3 |

|Neuroradiology |1 | |1 |1 |1 | |4 |

|Interventional radiology | | | | |3 | |3 |

|Pediatric radiology |1.5 |0.5 |0.5 |0.5 | | |3 |

|Mammography |2 | | | | | |2 |

|Nuclear medicine | | | | | |2 |2 |

|Radiation oncology | | | | | |2 |2 |

|Pathology *** | | | | | |1 |1 |

|Elective | | | | | |1 |1 |

|Total (months) |14.0 |4.0 |4.0 |3.0 |4.0 |7.0 |36 |

* รวม Doppler US 1 เดือน

** รวม Angiography

*** การหมุนเวียนศึกษาและฝึกปฏิบัติงานในหน่วยพยาธิวิทยา อาจใช้การนับรวมชั่วโมงของการ

ประชุมร่วมระหว่างภาควิชาพยาธิวิทยากับภาควิชารังสีวิทยาแทนได้ โดยต้องมีชั่วโมงรวมตลอด 3 ปี ไม่น้อยกว่า 1 เดือน

Appendix (ภาคผนวก 13)

รายนามคณะกรรมการอำนวยการราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย วาระ 2546-2548

1. ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณนายแพทย์สาโรจน์ วรรณพฤกษ์ ประธาน

2. ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณนายแพทย์สุธี ณ สงขลา รองประธาน

3. ศาสตราจารย์เกียรติคุณแพทย์หญิงพูนสุข จิตรนุสนธิ์ เลขาธิการ

4. รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงช่อฟ้า แก้วจินดา เหรัญญิก

5. แพทย์หญิงจามรี เชื้อเพชรโสภณ ปฏิคม

6. รองศาสตราจารย์นายแพทย์สุทธิศักดิ์ สุทธิพงษ์ชัย ประธานวิชาการ

7. รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงสมใจ หวังศุภชาติ นายทะเบียน

8. รองศาสตราจารย์นายแพทย์กฤษฎี ประภาสะวัต กรรมการกลาง

9. รองศาสตราจารย์นายแพทย์จุฑาเกียรติ เครือตราชู กรรมการกลาง

10. รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงวัชรี บัวชุม กรรมการกลาง

11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์แพทย์หญิงศิรินธรา พงษ์เพ็ชร กรรมการกลาง

12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์แพทย์หญิงอัญชลี ชูโรจน์ กรรมการกลาง

13. รองศาสตราจารย์นายแพทย์พิพัฒน์ เชี่ยววิทย์ เลขานุการ

Appendix (ภาคผนวกที่ 14)

รายนามคณะอนุกรรมการฝึกอบรมและสอบความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพ

เวชกรรม สาขารังสีวิทยาวินิจฉัย พ.ศ. 2546

1. นายแพทย์สาโรจน์ วรรณพฤษ์ ที่ปรึกษา

2. แพทย์หญิงช่อฟ้า แก้วจินดา ที่ปรีกษา

3. แพทย์หญิงพูนสุข จิตรนุสนธิ์ ประธานอนุกรรมการ

4. นายแพทย์กฤษฎี ประภาสะวัต อนุกรรมการ

5. นายแพทย์จิตเจริญ ไชยาคำ อนุกรรมการ

6. แพทย์หญิงจิราภรณ์ ศรีนัครินทร์ อนุกรรมการ

7. นายแพทย์จุฑาเกียรติ เครือตราชู อนุกรรมการ

8. แพทย์หญิงดรุณี บุญยืนเวทวัฒน์ อนุกรรมการ

9. แพทย์หญิงคุณหญิงนิตยา สุวรรณเวลา อนุกรรมการ

10. แพทย์หญิงบุษณี วิบุลผลประเสริฐ อนุกรรมการ

11. แพทย์หญิงพิมใจ ศิริวงศ์ไพรัช อนุกรรมการ

12. แพทย์หญิงรัตนพร พรกุล อนุกรรมการ

13. แพทย์หญิงลัดดาวัลย์ วัชระคุปต์ อนุกรรมการ

14. แพทย์หญิงวิไลพร โพธิสุวรรณ อนุกรรมการ

15. แพทย์หญิงสมใจ หวังศุภชาติ อนุกรรมการ

16. แพทย์หญิงเอมอร ไม้เรียง อนุกรรมการ

17.แพทย์หญิงอัญชลี ชูโรจน์ อนุกรรมการและเลขานุการ

Appendix (ภาคผนวกที่ 15)

รายนามคณะอนุกรรมการร่างหลักสูตรเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญ

ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขารังสีวิทยาวินิจฉัย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2548

1. นายแพทย์ สาโรจน์ วรรณพฤกษ์

2. แพทย์หญิง พูนสุข จิตรนุสนธิ์

3. แพทย์หญิง ช่อฟ้า แก้วจินดา

4. นายแพทย์ สุทธิศักดิ์ สุทธิพงษ์ชัย

5. แพทย์หญิง สมใจ หวังศุภชาติ

6. นายแพทย์ จุฑาเกียรติ เครือตราชู

7. แพทย์หญิง ศิรินธรา พงษ์เพ็ชร

8. แพทย์หญิง อัญชลี ชูโรจน์

9. นายแพทย์ พิพัฒน์ เชี่ยววิทย์

10. แพทย์หญิง ปิยาภรณ์ อภิสารธนรักษ์

11. แพทย์หญิง วลัยลักษณ์ ชัยสูตร

12. แพทย์หญิง คุณหญิงนิตยา สุวรรณเวลา

13. แพทย์หญิง ปานฤทัย ตรีนวรัตน์

14. แพทย์หญิง ลัดดาวัลย์ วัชระคุปต์

15. แพทย์หญิง สุกัลยา เลิศล้ำ

16 แพทย์หญิง ศศิธร ศิริสาลิโภชน์

17. แพทย์หญิง กาญจนา โชติเลอศักดิ์

18. แพทย์หญิง จันทร์จิรา ชัชวาลา

19. แพทย์หญิง จิรพร เหล่าธรรมทัศน์

20. แพทย์หญิง ฐิติพร สุวัฒนะพงศ์เชฏ

21. แพทย์หญิง บุษณี วิบุลผลประเสริฐ

22. แพทย์หญิง พิมใจ ศิริวงศ์ไพรัช

23. แพทย์หญิง รัตนพร พรกุล

24. นายแพทย์ สุทธิพงษ์ จงจิระศิริ

25. แพทย์หญิง สุวิภาภรณ์ ศิริพรพิทักษ์

26. แพทย์หญิง สมใจ แดงประเสริฐ

27. แพทย์หญิง วิมล สุขถมยา

28. นายแพทย์ สมบัติ บุญญประภา

29. นายแพทย์ ชูศักดิ์ สิริวณิชชัย

30. แพทย์หญิง พรรณี วิศรุตรัตน

31. แพทย์หญิง มลฤดี เอกมหาชัย

32. แพทย์หญิง เอมอร ไม้เรียง

33. แพทย์หญิง จิราภรณ์ ศรีนครินทร์

34. แพทย์หญิง นิตยา ฉมาดล

35. นายแพทย์ วัลลภ เหล่าไพบูลย์

36. นายแพทย์ ถาวร เด่นดำรงค์ทรัพย์

37. นายแพทย์ ปราโมทย์ ทานอุทิศ

38. แพทย์หญิง อัญชลี เครือตราชู

39. ดร. อัญชลี กฤษณจินดา

40. ดร. วิภา บุญกิตติเจริญ

41. ดร. จีระภา ตันนานนท์

42. ดร. ไพรัช สายวิรุณพร

43. อาจารย์ อำไพ อุไรเวโรจนากร

44. อาจารย์ อัมพร ฝันเซียน

................
................

In order to avoid copyright disputes, this page is only a partial summary.

Google Online Preview   Download