แบบประเมินตนเอง



รายงานการประเมินตนเอง (Service Profile)

สำหรับคณะกรรมการพัฒนางานบริการผู้ป่วยนอก

การเยี่ยมสำรวจภายใน ประจำปี 2558 คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

------------------------------------------------------------

(ข้อมูลแสดงถึง ลักษณะหน่วยงาน หน้าที่ วัตถุประสงค์ ผลการดำเนินการ และแนวทางการพัฒนา : เราทำอะไร ทำไปเพื่ออะไร มีกระบวนการที่เป็นระบบอย่างไร ทำได้ดีหรือไม่ และจะทำให้ดีขึ้นได้อย่างไร)

วัตถุประสงค์ของการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง ดังนี้

1. มีการทบทวน วิเคราะห์ และค้นหาโอกาสพัฒนาในระบบ/กระบวนการทำงานของคณะกรรมการฯ โดยมีการประยุกต์ใช้มาตรฐานในการทำงานให้สอดคล้องกับบริบทของคณะกรรมการฯและคณะฯ ได้แก่ เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award : TQA), HA และแสดงผลลัพธ์ในการดำเนินการให้สอดคล้องในทิศทางเดียวกันกับคณะฯ ใช้แนวคิด 3C-PDCA/ADLI/LeTCI (Core values, Criteria, Context, Plan-Do-Check-Act/Approach-Deploy-Learning-Integration, Level-Trend-Comparison-Integration) และ 3P (Purpose–Process–Performance)

2. รวบรวมข้อมูลสำคัญของคณะกรรมการฯ และใช้สื่อสารแก่

- บุคลากรภายในคณะกรรมการฯ ได้รับรู้ เข้าใจ ในระบบ/กระบวนงาน เป้าหมายและตัวชี้วัด ที่คณะกรรมการฯกำหนด เพื่อจะได้ร่วมกันปฏิบัติในทิศทางเดียวกันอย่างสอดคล้องและบูรณาการสู่การบรรลุวิสัยทัศน์/วัตถุประสงค์

- ผู้เยี่ยมสำรวจจากภายนอกที่จะมาตรวจประเมิน ได้เข้าใจระบบ/กระบวนงาน และผลลัพธ์การดำเนินการ เพื่อจะได้สะท้อนและให้ข้อมูลป้อนกลับทั้งที่เป็นจุดแข็งและโอกาสพัฒนาได้อย่างถูกต้อง ตรงประเด็น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินการของคณะกรรมการฯและคณะฯ

สามารถศึกษาข้อมูล HA Update 2013 ของสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) (สรพ.) และเกณฑ์ TQA 2557 ของสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติที่ website งานพัฒนาคุณภาพ

วันที่ สรุปแบบประเมินตนเอง / /2558

ชื่อ คณะกรรมการพัฒนางานบริการผู้ป่วยนอก

ส่วนที่ 1

1. บริบท (Context) ลักษณะของคณะกรรมการพัฒนางานบริการผู้ป่วยนอกประกอบด้วย

ก. หน้าที่หลักและเป้าหมายที่สำคัญ

• คณะกรรมการฯ มีหน้าที่หลักที่สำคัญอะไร ทำไปเพื่ออะไร (มีเป้าหมายอย่างไร) ซึ่งกำหนดมาจากทิศทาง/นโยบายของคณะฯ ข้อกำหนดของวิชาชีพ หรือกฎหมาย และความต้องการของผู้รับผลงาน/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………

• มีลักษณะเด่นที่ต่างจากคณะกรรมการอื่นทั้งภายในและภายนอกคณะฯ อย่างไร

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………….

ข. รายชื่อคณะกรรมการฯ

1.

2.

3.

4.

5.

ค. ความท้าทายเชิงกลยุทธ์

ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ หมายถึง ประเด็นสำคัญที่คณะกรรมการฯ พิจารณาโดยใช้ข้อมูลประกอบและตัดสินว่า จะต้องพัฒนาเป็นลำดับแรกๆ หรือให้ความสำคัญอย่างมาก และมีความสอดคล้องกับเข็มมุ่งของโรงพยาบาล/คณะฯ เพื่อให้บรรลุความต้องการของผู้รับผลงาน/นโยบายองค์กร ควรครอบคลุมประเด็นเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ การปฏิบัติการ บุคลากร และสังคม

...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................................2. แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดหลัก และผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดหลัก

• แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติงานต้องสอดคล้องกับความท้าทายเชิงกลยุทธ์ (ข้อ 1ค) และหน้าที่หลัก (ข้อ 1ก)

• ตัวชี้วัดหลักสำคัญต้องครอบคลุมกระบวนการทำงานหลักที่สำคัญ และการสร้างเสริมสุขภาพ ซึ่งตอบสนองหน้าที่หลักและเป้าหมายสำคัญของคณะกรรมการฯ และสอดคล้องกับมิติคุณภาพทั้งด้านคลินิก การบริการ และการบริหารจัดการ โดยต้องมีตัวชี้วัดด้านผลลัพธ์ที่แสดงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และจำเพาะกับบริบทของคณะกรรมการฯ (Specific Outcome Indicator) เพื่อแสดงว่าคณะกรรมการฯ ทำได้ดีหรือไม่ โดยอาจแสดงเป็นตารางหรือกราฟ หรือ control chart และควรแสดงข้อมูลของผลลัพธ์เป็นแนวโน้มอย่างน้อย 3 ปีติดต่อกันรวมปีปัจจุบัน พร้อมแสดงเป้าหมาย ในกรณีที่ตัวชี้วัดที่แสดงถึงความเป็นเลิศ ต้องระบุข้อมูลและสถาบันที่ใช้เทียบเคียง (benchmarking)

• มีคำอธิบายสรุปใต้ตารางหรือกราฟที่แสดงถึงการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI) ประกอบด้วย การวิเคราะห์และแปลผลว่าทำไมผลลัพธ์ถึงดีขึ้นหรือมีแนวโน้มไม่ดี หรือมีเหตุการณ์อะไรจึงทำให้ผลลัพธ์สูงกว่า/ต่ำกว่าเป้าหมาย และการใช้ประโยชน์ในการปรับปรุง/สร้างนวัตกรรม พร้อมแสดงว่ากำลังดำเนินการพัฒนาอะไร อย่างไร (เชื่อมโยงกับข้อ 3)

แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ และตัวชี้วัดหลักของคณะกรรมการฯ

|แผนกลยุทธ์ |ตัวชี้วัดหลัก |แผนปฏิบัติงาน |ผู้รับผิดชอบ |เป้าหมาย พ.ศ. |

| | | | |2557 |2558 |2559 |2560 |

| |1.2.1 |1.2 | | | | | |

| |1.2.2 | | | | | | |

| |1.3.1 |1.3 | | | | | |

| |1.3.2 | | | | | | |

|2. |2.1.1 |2.1 | | | | | |

| |2.1.2 | | | | | | |

| |2.2.1 |2.2 | | | | | |

| |2.2.2 | | | | | | |

ผลลัพธ์ด้านประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการดำเนินการ เลือกตอบให้สอดคล้องกับบริบทของคณะกรรมการฯ

ให้สรุปผลลัพธ์ทั้งระดับปัจจุบันและแนวโน้มของตัววัดหรือตัวชี้วัดของผลการดำเนินการด้านการปฏิบัติของกระบวนงานที่สำคัญ รวมทั้งให้แสดงข้อมูลเชิงเปรียบเทียบที่เหมาะสม (สามารถเพิ่มเติมตัววัดสำคัญได้นอกเหนือจากที่ระบุ)

|มิติคุณภาพ |ตัวชี้วัด |เป้าหมาย |สถาบันเทียบเคียง (ถ้ามี) |ผลการดำเนินการตามปีงบประมาณ |

| | | | |2555 |2556 |2557 |

|Safety |2. Harm บุคลากร | | | | | |

|(ความปลอดภัย) | | | | | | |

| |2.1การบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยจากการทำงานของบุคลากร (ด้านกายภาพ) เช่น เข็มตำ | | | | | |

| |2.2 การบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยจากการทำงานของบุคลากร (ด้านชีวภาพ) | | | | | |

|Delivery |3. ระยะเวลารอตรวจ (OPD) | | | | | |

|(เวลา/การส่งมอบ) | | | | | | |

| |3.1 ระยะเวลาที่ผป.ได้รับการตรวจจากเวลานัดหมาย (นาที) | | | | | |

| |3.2 อัตราผป.ที่ได้รับการตรวจภายในเวลา 30 นาทีจากเวลานัดหมาย | | | | | |

| |4.1 อัตราการรอยาช่วงเวลาเร่งรีบ < 45นาที | | | | | |

| |4.2 ระยะเวลาการรอยาช่วงเวลาเร่งรีบ (นาที) | | | | | |

| |4.3 อัตราการรอยาช่วงเวลาปกติ < 20 นาที | | | | | |

| |4.4 ระยะเวลารอยาช่วงเวลาปกติ (นาที) | | | | | |

|Cost |5.1 Cost ที่เกิดจากการดำเนินการของคณะฯ ที่สอดคล้องกับบริบท | | | | | |

|(ต้นทุน/ความคุ้มค่า) | | | | | | |

| |5.2 Cost ที่เกิดจากความเสี่ยงต่างๆ | | | | | |

|Satisfaction/ |6. Customer satisfaction index | | | | | |

|Disatisfaction | | | | | | |

|(ความพึงพอใจ/ไม่พึงพอใจ)/Enga| | | | | | |

|gement | | | | | | |

| |7. จำนวนข้อร้องเรียน | | | | | |

| |8. จำนวนข้อเสนอแนะ | | | | | |

|Other(อื่นๆ) | | | | | | |

3. การพัฒนาคุณภาพที่อยู่ระหว่างการดำเนินการ (บรรยาย หรือ ใช้ตารางแสดงก็ได้)

• ระบุโครงการ/กิจกรรมที่สำคัญที่กำลังดำเนินการในปัจจุบันเพื่อพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI) เป็นระบบ มุ่งตอบสนองให้ผลลัพธ์ของการดำเนินการของตัวชี้วัด (ในข้อ 2) ให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนด

• อธิบายแต่ละโครงการ อาจแสดงเป็นตารางที่ประกอบด้วย ข้อมูลที่มา/ประเด็นคุณภาพ/ความท้าทายที่สำคัญ กิจกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ตัวชี้วัด เป้าหมาย (Target) และผลการดำเนินการ ปัญหา/อุปสรรค

|ที่มา/ประเด็นคุณภาพ/ |แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม|วัตถุประสงค์ |ระยะเวลาดำเนินการ |ผู้รับผิดชอบ |ตัวชี้วัดที่สำคัญ/เป้าหมาย |ปัญหา/ อุปสรรค |

|ความท้าทายที่สำคัญ |พัฒนาคุณภาพ | | | |และผลการดำเนินการ | |

4. แผนการที่จะพัฒนาต่อไป (เป็นแผนการที่คาดหวังว่าจะมีการดำเนินการในปีถัดๆไป เกิดจากการวิเคราะห์และ

ทบทวนผลการประเมินที่ได้ทำไว้ โดยมีความสัมพันธ์กับผลลัพธ์ตัวชี้วัดในข้อ 2)

• ระบุแผน/โครงการสำคัญ/ทิศทางของการพัฒนาที่ต้องการ/วางแผนจะทำ โดยระบุข้อมูลที่ประกอบด้วย แผน/กิจกรรม/แนวทางการดำเนินการ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด/ข้อมูลที่ใช้ติดตามกำกับ และระยะเวลา

|แผน/กิจกรรม |วัตถุประสงค์ |ตัวชี้วัด |ระยะเวลา |

|ที่วางแผนจะทำต่อไป | | | |

| | | | |

5. สรุประบบงานที่ใช้อยู่ในปัจจุบันที่ได้จากความสำเร็จของกระบวนการพัฒนาคุณภาพที่ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว

และสามารถใช้อ้างอิงเป็นแนวปฏิบัติที่ดี

• สรุปสั้นๆ ถึงระบบงานที่สำคัญในปัจจุบันที่เป็นผลจากความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพที่สำคัญในช่วงเวลา 1-2 ปีที่ผ่านมา เพื่อสะท้อนให้เห็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการพัฒนางานอย่างเป็นระบบ ควรแสดงให้เห็นแนวคิด ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น และวิธีการทำงานที่สำคัญ เช่น จากการเรียนรู้ต่อยอดจากผู้ที่ทำได้ดีกว่า การใช้ข้อมูลวิชาการ ที่ทำให้เกิดการปรับ/จัดทำ WI/SP, innovation, R2R โดยเฉพาะมีการแสดงผลลัพธ์จากการประเมินอย่างเป็นระบบ (ข้อมูลแสดงถึง CQI และ benchmarking) ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของหน่วยงานและคณะฯ และเชื่อมโยงกับค่านิยมขององค์กร

|ชื่อโครงการ/กิจกรรมพัฒนาคุณภาพที่ก่อให้เกิดระบบงานสำคัญใน 1-2 ปีที่ผ่านมา |วิธีการจัดเก็บความรู้ |วันเริ่มต้น-สิ้นสุดโครงการ |

| |เช่น เอกสารคุณภาพ R2R | |

| | | |

| | | |

6. ความภาคภูมิใจ รางวัลที่ได้รับ (เช่น โครงการติดดาว และอื่นๆ) รวมทั้งการนำไปขยายผลทั้งภายใน/ภายนอกคณะฯ (ปีงบประมาณ 2556 – 2557)

|ชื่อ/ประเภทผลงาน |ประเด็นจุดเน้นคณะฯ |ปีที่ได้รับรางวัล |

| |ที่สอดคล้องกับผลงาน |(ปี 2556 – 2557) |

| | | |

| | | |

ส่วนที่ 2

|คำอธิบายแนวทางการประเมินตนเองสำหรับคณะกรรมการฯ ตามมาตรฐาน Advanced HA ซึ่งเป็นมาตรฐานในการประเมินโรงพยาบาลขั้นก้าวหน้า โดยอาศัยแนวทางปฎิบัติใน SPA, Patient Safety |

|Goals (SIMPLE) ร่วมกับข้อกำหนดที่เป็นมาตรฐานสากล โดย |

|วิธีประเมิน Compliance ของ P ใช้เกณฑ์การประเมิน ดังนี้ |

|N = not met หมายถึง ยังไม่มีแนวทาง/นโยบาย/ระเบียบปฎิบัติ/วิธีปฎิบัติ และยังไม่เริ่มดำเนินการตามเกณฑ์หรือมาตรฐาน |

|P = partially met หมายถึง มีแนวทาง/นโยบาย/ระเบียบปฎิบัติ/วิธีปฎิบัติ และมีการดำเนินการตามเกณฑ์หรือครอบคลุมตามมาตรฐาน ( 60 % |

|M = met หมายถึง มีแนวทาง/นโยบาย/ระเบียบปฎิบัติ/วิธีปฎิบัติ และมีการดำเนินการตามเกณฑ์หรือครอบคลุมตามมาตรฐาน ( 60 % |

|แสดงผลการประเมินการดำเนินการของคณะกรรมการฯ ในข้อ A (Assessment) ตามมาตรฐาน HA (Standard) และคำอธิบายรายละเอียด (Practice) ที่จัดอยู่ในกรอบ โดยเน้นหลักการ EI3O คือ |

|รายงานผลการประเมิน (Evaluation) การพัฒนาปรับปรุง (Improvement) การดำเนินงานที่สอดคล้องกับ SP (Integration) การสร้างนวัตกรรมและงานวิจัย (Innovation หรือ R2R) |

|และแสดงผลลัพธ์การดำเนินการที่เกิดขึ้น (Outcome) โดยเฉพาะผลลัพธ์ที่มี best practice หรือมีการเทียบเคียงผลการดำเนินการกับสถาบันอื่นโดยมีผลลัพธ์ที่ดีกว่า อย่างเด่นชัด |

|สามารถเป็นต้นแบบในระดับคณะฯ หรือประเทศ หรือนานาชาติ (ถ้ามี) |

| |

|มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง |

|SPA III–1 |การเข้าถึงและเข้ารับบริการ (ACN) |

|SPA III–2 |การประเมินผู้ป่วย (ASM) |

|SPA III-3.1 |การวางแผนการดูแลผู้ป่วย (PLN.1) |

|SPA III-3.2 |การวางแผนจําหน่าย (PLN.2) |

|SPA III-4.1 |การดูแลทั่วไป (PCD.1) |

|SPA III-4.2 |การดูแลผู้ป่วยและการให้บริการที่มีความเสี่ยงสูง (PCD.2) |

|SPA III-6 |การดูแลต่อเนื่อง (COC) |

| |

|SPA III–1 การเข้าถึงและเข้ารับบริการ (ACN) ทีมผู้ให้บริการสร้างความมั่นใจว่าผู้รับบริการสามารถเข้าถึงบริการที่จําเป็นได้ง่าย |

|กระบวนการรับผู้ป่วยเหมาะกับปัญหาสุขภาพ/ความต้องการของผู้ป่วยทันเวลา มีการประสานงานที่ดีภายใต้ระบบและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล |

|S(1) |ชุมชนสามารถเข้าถึงบริการต่างๆ ที่เหมาะสมกับความต้องการของตน ทีมผู้ให้บริการพยายามลดอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการ ในด้านกายภาพ ภาษา วัฒนธรรม และอุปสรรคอื่นๆ |

| |ทีมผู้ให้บริการตอบสนองต่อผู้รับบริการอย่างรวดเร็ว ระยะเวลารอคอย เพื่อเข้ารับบริการเป็นที่ยอมรับของชุมชนที่ใช้บริการ | ................
................

In order to avoid copyright disputes, this page is only a partial summary.

Google Online Preview   Download

To fulfill the demand for quickly locating and searching documents.

It is intelligent file search solution for home and business.

Literature Lottery

Related searches