ปก - NFE



(ร่าง)

คู่มือ

หลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ

หลักสูตรวิชาช่างตัดผมชาย

กลุ่มอาชีพพาณิชยกรรมและบริการ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ.........

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

การจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ต้องมุ่งเน้นการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ให้สามารถประกอบอาชีพ สร้างรายได้ที่มั่งคั่งและมั่นคง เป็นบุคคลที่มีวินัย เปี่ยมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่นและสังคม เน้นการจัดการศึกษาที่ยึดพื้นที่เป็นฐาน โดยสถานศึกษาต้องวิเคราะห์ศักยภาพ 5 ด้าน ของแต่ละพื้นที่ ได้แก่ ศักยภาพด้านทรัพยากรธรรมชาติ ศักยภาพด้านภูมิอากาศ ศักยภาพด้านภูมิประเทศ ศักยภาพด้านศิลปวัฒนธรรมประเพณี และศักยภาพด้านทรัพยากรมนุษย์ และวิเคราะห์ข้อมูลวิถีการดำเนินชีวิต ความต้องการ และประชาชนในภูมิภาคต่างๆ ที่เป็นผู้ใช้บริการผลผลิตของสถานศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวจะนำมาสู่การกำหนดหลักสูตรอาชีพที่สถานศึกษาจะจัดการเรียนการสอน

เพื่อตอบสนองนโยบายดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ..........

จึงได้ปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นการปฏิบัติจริง มีการศึกษาดูงานเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ในอาชีพโดยตรง ผู้สอนเป็นวิทยากรที่มีความรู้ ความสามารถ และเป็นผู้ประกอบการในอาชีพนั้น ๆ ให้ความสำคัญต่อการประเมินผลการจบหลักสูตรที่เน้นทักษะ ความสามารถ และการมีผลงาน ชิ้นงาน ที่ได้มาตรฐานออกสู่ตลาดได้ การพัฒนาหลักสูตรอาชีพ จึงต้องปรับใหม่โดยการพัฒนาให้ครบวงจร ประกอบด้วย ช่องทางการประกอบอาชีพ ทักษะของอาชีพ การบริหารจัดการ และโครงการอาชีพพร้อมแหล่งเงินทุน และให้ผู้เรียนที่เรียนจบจากหลักสูตรอาชีพมีความมั่นใจว่าจะสามารถประกอบอาชีพสร้างรายได้ ได้อย่างแท้จร

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ.......ได้พัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมสอดคล้องกับ

ความต้องการของชุมชน บริบทของพื้นที่ แล้วจึงขออนุมัติใช้หลักสูตรอาชีพ วิชาช่างตัดผมชาย กลุ่มอาชีพพาณิชย กรรมและบริการ ในการดำเนินงานได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจาก บุคลากร วิทยากร ภูมิปัญญา และผู้ที่เกี่ยวข้อง มาร่วมพิจารณาและตรวจสอบความถูกต้องจึงทำให้การดำเนินการจัดทำหลักสูตรในครั้งนี้เสร็จสิ้นไปด้วยดี ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ..........

สารบัญ

หน้า

คำนำ

สารบัญ

ความเป็นมา……………………….………………………………………………………… 1

หลักการของหลักสูตร....…………………………………………………………………… 2

จุดหมาย……………………………………………………………………………………… 2

กลุ่มเป้าหมาย……..………………………………………………………………………… 2

ระยะเวลา……..…………..………………………………………………………………… 2

โครงสร้างหลักสูตร

- ช่องทางการประกอบอาชีพตัดผมชาย …..……………………… 2

- ทักษะการประกอบอาชีพตัดชาย …..……………………………. 2

- การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพตัดผมชาย............. 2

- โครงการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย …..………............ 2

การจัดกระบวนการเรียนรู้………………………….…………………………………………………. 3

สื่อการเรียนรู้........................................................................................................... 3

การวัดและประเมินผล……………………………..…………………………………………………. 3

การจบหลักสูตร………………………….……………………………………………………………… 3

เอกสารหลักฐานการศึกษา………….………………….………………………………………….. 3

การเทียบโอน……………………….…………………………………………………………………… 3

เอกสาร/ข้อมูลอ้างอิง ………………………………………………………………………………………….. 4

ภาคผนวก 5

- รายละเอียดโครงสร้างหลักสูตร ………………………………………………… 6 -11

- แบบโครงการอาชีพ............................................................................ 12-14

- ตัวอย่างโครงการอาชีพ...................................................................... 15-19

- (ตัวอย่าง) การประเมินโครงการ....................................................... 20-22

- ใบงานสำหรับศึกษาดูงาน................................................................ 23-24

- ขั้นตอนการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ............................. 25

- แบบฟอร์มการเปิดสอนหลักสูตรอาชีพเพื่อการมีงานทำ……………………. 26-39

- การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนหลักสูตรระยะสั้น 40-44

คณะผู้จัดทำ ................................................................................................................................ 45

หลักสูตรวิชาตัดผมชาย

จำนวน 50 ชั่วโมง

กลุ่มอาชีพพาณิชยกรรมและบริการ

ความเป็นมา

สืบเนืองจากกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ 2555 ภายใต้กรอบเวลา 2 ปี ที่จะพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก” ตลอดจนกำหนดภารกิจที่จะยกระดับการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง มั่งคั่ง มุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้ มีงานทำอย่างยั่งยืน และมีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาคอาเซียนและระดับสากล ดังนั้น การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันจะต้องมุ่งพัฒนาประชากรของประเทศให้มีความรู้ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ เน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ ซึ่งเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ประชาชนและประเทศชาติ ตลอดจนสามารถแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน

จากนโยบายและจุดเน้นในการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2555 ของกระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงาน กศน. ที่มุ่งเน้นการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำใน 5 กลุ่มอาชีพ ประกอบด้วย กลุ่มอาชีพด้านเกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรม ด้านพาณิชยกรรม ด้านความคิดสร้างสรรค์ และด้านอำนวยการและอาชีพเฉพาะทาง ซึ่งเป็นการศึกษาต่อเนื่องเพื่อการพัฒนายั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การเลือกประกอบอาชีพในภาวะเศรษฐกิจยุคปัจจุบัน จำเป็นต้องมีข้อมูลพื้นฐานในหลักสูตรใน หลาย ๆ ด้าน ทั้งด้านการผลิต และความต้องการของตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่างๆ กลุ่มอาชีพสาขาพาณิชยกรรมก็เป็นทางเลือกหนึ่งในการเลือกประกอบอาชีพ สำนักงาน กศน.ได้ดำเนินการคัดเลือกหลักสูตรการประกอบอาชีพด้านพาณิชยกรรมมานำเสนอไว้เป็นตัวอย่างให้ผู้เรียนได้เลือกเรียนตามความสนใจ ฝึกปฏิบัติและนำไปประกอบอาชีพสร้างรายได้อย่างทั่วถึงมีความมั่นใจในการนำความรู้และทักษะไปประกอบอาชีพ

การกำหนดเนื้อหาและชั่วโมงในการเรียนหลักสูตรจะประกอบไปด้วยจำนวนชั่วโมงของเนื้อหาความรู้และการปฏิบัติเมื่อผู้เรียนเรียนจบหลักสูตรแล้วสามารถนำความรู้และทักษะไปประกอบอาชีพสร้างรายได้ รวมทั้งสามารถนำจำนวนชั่วโมงที่ได้เรียนไปเทียบโอน เป็นผลการเรียนในรายวิชาเลือกของสาระการประกอบอาชีพตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551

การประกอบอาชีพช่างตัดผมชาย เป็นอาชีพหนึ่งที่เน้นการให้บริการและให้การเสริมแต่ง ออกแบบทรงผมให้กับผู้มาใช้บริการบุรุษซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมทั้งการออกแบบทรงผม ตัดผม สระผม ซอยผม ย้อมผม และออกแบบทรงผม รวมทั้ง การตกแต่งร้าน เข้ากับสมัยนิยม เพื่อดึงดูดความสนใจของลูกค้าและหากสามารถทำได้ครบวงจรก็จะสามารถดึงดูดลูกค้าได้มากยิ่งขึ้น ประกอบกับปัจจุบันสภาพสังคมได้เปลี่ยนแปลงไป ผู้คนให้ความสำคัญกับความสวยงามและบุคลิกภาพที่ดีของตนเองมากขึ้น อาชีพความสวยความงามจึงเข้ามามีบทบาทในการเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างบุคลิกภาพให้ผู้คนได้มากขึ้น

ปัจจุบันธุรกิจการตัดผมชายครบวงจรได้ขยายการเปิดในทำเลธุรกิจต่างๆ มากขึ้นทั้งในอาคารสำนักงานให้เช่า และที่อยู่อาศัยคอนโดมีเนียม บริเวณโรงแรม บริเวณซูเปอร์มาร์เก็ต เพื่ออำนวยความสะดวกต่อผู้ที่ทำธุรกิจหรือพนักงานขององค์กรเหล่านั้น ทำให้ความต้องการทางด้านปริมาณของช่างตัดผม ขยายตัวมากขึ้น เป็นอาชีพหนึ่งที่คนในสังคมให้ความสนใจทั้งจากนักลงทุนใหม่ที่ไม่มีความรู้และประสบการณ์ในด้านการทำผมมาก่อนเลย  และผู้ที่ผ่านการเรียนวิชาชีพเสริมสวยแล้วอยากจะเป็นเจ้าของกิจการ เพราะเป็นธุรกิจที่ไม่มีความซับซ้อน ซึ่งสามารถเปิดดำเนินกิจการได้โดยง่าย อีกทั้งยังเป็นธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้อย่างเป็นกอบเป็นกำหากได้ทำเลที่ตั้งกิจการที่ดี และนับเป็นธุรกิจที่มีศักยภาพสูงสามารถสร้างรายได้ให้แก่ผู้ที่ประกอบอาชีพนี้เป็นอย่างดี

หลักการของหลักสูตร

1. เป็นหลักสูตรที่เน้นการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ ที่เน้นการบูรณาการเนื้อหาสาระภาคทฤษฎีควบคู่ไปกับการฝึกปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำความรู้และทักษะไปประกอบอาชีพได้จริงอย่างมีคุณภาพและมีคุณธรรมจริยธรรม

2. เป็นหลักสูตรที่เน้นการดำเนินงานร่วมกับเครือข่าย สถานประกอบการ เพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพและการศึกษาดูงาน

3. เป็นหลักสูตรที่ผู้เรียนสามารถนำผลการเรียนรู้ไปเทียบโอนเข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ในรายวิชาเลือกของสาระการประกอบอาชีพ

จุดหมาย

เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะดังนี้

1. มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง มั่งคั่ง

2. ตัดสินใจประกอบอาชีพให้สอดคล้องกับศักยภาพของตนเอง ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม

3. มีเจตคติที่ดีในการประกอบอาชีพ

4. มีความรู้ความเข้าใจและฝึกทักษะการบริหารจัดการในอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ

5. มีโครงการประกอบอาชีพเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพของตนเอง

กลุ่มเป้าหมาย

มี 2 กลุ่มเป้าหมาย คือ

1. ผู้ที่ไม่มีอาชีพ

2. ผู้ที่มีอาชีพและต้องการพัฒนาอาชีพ

ระยะเวลา

จำนวน 50 ชั่วโมง แบ่งเป็น

ภาคทฤษฎี 20 ชั่วโมง

ภาคปฏิบัติ 30 ชั่วโมง

โครงสร้างหลักสูตร

เรื่องที่ 1 ช่องทางการประกอบอาชีพ จำนวน 6 ชั่วโมง

เรื่องที่ 2 ทักษะการประกอบอาชีพธุรกิจเสริมสวย จำนวน 32 ชั่วโมง

เรื่องที่ 3 การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพธุรกิจเสริมสวย จำนวน 6 ชั่วโมง

เรื่องที่ 4 โครงการประกอบอาชีพตัดชาย จำนวน 6 ชั่วโมง

การจัดกระบวนการเรียนรู้

1. การบรรยาย

2. การสาธิต ทดลอง

3. การฝึกปฏิบัติจริง

4. ศึกษาจากเอกสารสิ่งพิมพ์ /ใบความรู้/ CVD DVD

5. ศึกษาจากผู้รู้ และวิทยากร

สื่อการเรียนรู้

1. เอกสาร / ใบความรู้ / VCD DVD

2. แหล่งเรียนรู้ในชุมชน / วิทยากร

การวัดและประเมินผล

1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล

2. ทดสอบความรู้ความเข้าใจ

3. การฝึกปฏิบัติ

เครื่องมือ

1 แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล

2. แบบทดสอบ

3. แบบสังเกตการฝึกปฏิบัติ

|เกณฑ์การประเมินการจบหลักสูตร | |

|สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ขึ้นไป | |

|2. ทดสอบความรู้ความเข้าใจ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 ขึ้นไป | |

|3. ผลงานการฝึกปฏิบัติ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ขึ้นไป | |

| | |

เอกสารหลักฐานการศึกษา

1. หลักฐานการประเมินผล

2. วุฒิบัตรออกโดยสถานศึกษา

3. ทะเบียนคุมวุฒิบัตร

การเทียบโอน

ผู้เรียนที่จบหลักสูตรนี้สามารถนำความรู้ไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา พุทธศักราช 2551 สาระการประกอบอาชีพรายวิชาเลือกที่สถานศึกษาได้จัดทำขึ้นในระดับใดระดับหนึ่ง

เอกสาร/ข้อมูลอ้างอิง

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. 2555. หลักสูตรธุรกิจเสริมสวย.

จากกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงาน กศน. เว็บไซด์

.



เสริมสวย.html

ช่างเสริมสวย.html

ตัดผมด้วยปัตตาเลี่ยน.html



ภาคผนวก

รายละเอียดโครงสร้างหลักสูตร

กลุ่มอาชีพพาณิชยกรรมและบริการ หลักสูตรตัดผม ชาย

|เรื่อง |จุดประสงค์การเรียนรู้ |เนื้อหา |การจัดกระบวนการเรียนรู้ |ชั่วโมง |

| | | | |ทฤษฎี |ปฏิบัติ |

|1. ช่องทางการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย |1. |1. ความสำคัญในการเลือกประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย |1. วิทยากรอธิบายความสำคัญในการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย |2 |4 |

|จำนวน 6 ชม. |บอกและอธิบายความสำคัญในการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผ|2. ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย |และให้ผู้เรียนร่วมแสดงความคิดเห็น | | |

| |มชายได้ |3. แหล่งเรียนรู้การประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย |2. วิทยากรอธิบายความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย | | |

| |2. |4. ทิศทางในการพัฒนาการประกอบอาชีพตัดผมชาย |และให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติวิเคราะห์ | | |

| |วิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผม| |3. ให้ผู้เรียนศึกษาดูงานจากผู้ประกอบธุรกิจร้านตัดผมชาย | | |

| |ชาย | |ประสบความสำเร็จ แหล่งเรียนรู้อื่นๆ นำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน | | |

| |3. | |และสรุปเพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย | | |

| |บอกและหาแหล่งเรียนรู้ในการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมช| |4. | | |

| |าย | |วิทยากรและผู้เรียนร่วมกันวิเคราะห์วิเคราะห์ทิศทางในการพัฒนาการประก| | |

| |4. | |อบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย | | |

| |บอกทิศทางในการพัฒนาการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย| | | | |

| | | | | | |

|2. ทักษะการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย |1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ อธิบายหลักการ |ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดผม |กิจกรรม |12 |20 |

|จำนวน 32 ชม. |และวิธีการของช่างตัดผมชาย ได้อย่างถูกต้อง |1. คุณสมบัติที่ดีของช่างตัดผม (3) |1. การบรรยาย | | |

| |2. ผู้เรียนสามารถเลือกซื้อ จัดเตรียม ใช้ |1.1 จรรยาบรรณของช่างตัดผม |2. การสาธิต ทดลอง | | |

| |และบารุงรักษาเครื่องมือเครื่องใช้ |1.2 อนามัยเกี่ยวกับสุขภาพ |3. การฝึกปฏิบัติจริง | | |

| |และอุปกรณ์ในการตัดผมชายได้ |1.3 อนามัยเกี่ยวกับบุคลิกภาพ |4. ศึกษาจากเอกสารสิ่งพิมพ์ /ใบความรู้/ CVD DVD | | |

| |3. ผู้เรียนสามารถตัดผมทรงต่างๆ |1.4 อุปนิสัยของช่างตัดผม |5. ศึกษาจากผู้รู้ และวิทยากร | | |

| |ได้อย่างเหมาะสมกับบุคลิกและใบหน้าได้ |1.5 การสุขาภิบาลของสถานที่ตัดผม |สื่อการเรียน | | |

| |4. ผู้เรียนสามารถสระผม ตัดผม ย้อมผม โกรกผม |1.6 การปฐมพยาบาลเบื้องต้น |1.เอกสาร / ใบความรู้ / VCD DVD | | |

| |กัดสีผม ได้ถูกต้อง |2. การเตรียมและการใช้วัสดุอุปกรณ์การตัดผมและการบารุงรักษา (3) |2. แหล่งเรียนรู้ในชุมชน / วิทยากร | | |

| |5. ผู้เรียนสามารถซอยผม และไดร์ผมลักษณะฟรีสไตล์ |3. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผมและผิวหนัง (3) |วัสดุ/อุปกรณ์ | | |

| |ได้ถูกต้อง |3.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผม |1. แบตเตอร์เลี่ยน | | |

| |6. ผู้เรียนมีทักษะการจัดการ การทำงาน |3.2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผิวหนัง |2. ไดร์เป่าผม | | |

| |และสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมปัจจุบัน |4. การตัดผมชาย 3 ทรงผมมาตรฐาน |3. กรรไกรตัดผม | | |

| |และเตรียมตัวพร้อมเข้าสู่การประกอบอาชีพในอนาคตได้ |4.1.การตัดผมมาตรฐานทรงสูง (3) |4. กระจกเงา | | |

| | |4. 1.1 ผมทรงนักเรียน |5. หวี แบบต่างๆ | | |

| | |4. 1.2 ผมทรงสูงกระทุ่มสั้น |6. ที่ม้วนผม | | |

| | |4. 1.3 ผมทรงกระทุ่มยาว |7. ผลิตภัณฑ์แต่งผม | | |

| | |4.1.4 ผมทรงสูงไว้หวี |8. โต๊ะ - เก้าอี้สาหรับตัดผม | | |

| | |4.2. การตัดผมทรงกลาง (3) |9. เสื้อคุมกันเปื้อน | | |

| | |4.2.1 ทรงกลาง รองทรงอังกฤษ ชั้นเดียว (รองทรงสูง) | | | |

| | |4.2.2 ทรงกลาง รองทรงอังกฤษ สองชั้น (รองทรงต่ำ) |กระบวนการประเมินผล | | |

| | |4.3. การตัดผมทรงต่า (3) |1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล | | |

| | |4.3.1 ผมทรงต่ำ จอนบาง |2. ทดสอบความรู้ความเข้าใจ | | |

| | |4.3.2 ผมทรงต่าจอนหนา |3. การฝึกปฏิบัติ | | |

| | |5. การออกแบบทรงผม |เครื่องมือ | | |

| | |5.1. การซอยผม (3) |1 แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล | | |

| | |5.1.1. การซอยผมฟรีสไตล์ |2. แบบทดสอบ | | |

| | |5.1.2 การซอยผมตามสมัยนิยม |3. แบบสังเกตการฝึกปฏิบัติ | | |

| | |5.1.3 การซอยผมรากไทร |เกณฑ์การประเมิน | | |

| | |5.1.4 การสไลด์ผมด้วยกรรไกรและมีดโกน |1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ขึ้นไป | | |

| | |5.2. การดัดผม (3) |2. ทดสอบความรู้ความเข้าใจ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 ขึ้นไป | | |

| | |5.2.1 หลักการดัดผม |3. ผลงานการฝึกปฏิบัติ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ขึ้นไป | | |

| | |5.2.2 การดัดผมให้ตั้ง | | | |

| | |5.2.3 การดัดผมสมัยนิยม | | | |

| | |5.3. การย้อมสีผม (3) | | | |

| | |5.3.1 หลักการย้อมสีผม | | | |

| | |5.3.2 การย้อมสีผมธรรมดา | | | |

| | |5.3.3 การย้อมสีผมตามสมัยนิยม | | | |

| | |5.4. การสระ-ไดร์ผมและการนวดเพื่อสุขภาพ (5) | | | |

| | |5.4.1 การสระผม – ไดร์ | | | |

| | |5.4.2 การสระผมดัด,ผมย้อม | | | |

| | |5.4.3 การนวดศรีษะ | | | |

| | |5.4.4 การไดร์ผมฟรีสไตล์ | | | |

| | |5.4.5 การไดร์ผมตามสมัยนิยม | | | |

| | | | | | |

| | | | | | |

| | | | | | |

| | | | | | |

| | | | | | |

| | | | | | |

| | | | | | |

| | | | | | |

| | | | | | |

| | | | | | |

| | | | | | |

| | | | | | |

| | | | | | |

|3. |1. |1. การประกอบอาชีพ |1. วิทยากรอธิบายความแตกต่างการเลือกทำเลที่ตั้งร้าน การจัด |3 |3 |

|การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย|สามารถบริหารจัดการในการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชา|1.1 การเลือกทาเลที่ตั้ง |ตกแต่งหน้าร้าน การคิดราคาต้นทุน การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน | | |

|จำนวน 6 ชม. |ยได้ |1.2 การจัดตกแต่งหน้าร้าน |ประเภทและแหล่งของความเสี่ยง จิตบริการ | | |

| |2. สามารถกำหนดรูปแบบ |1.3 การบริการ |การตลาดความแตกต่างระหว่างการขายและการให้บริการ | | |

| |ในการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชายได้ |1.4 การจัดการ จัดซื้ออุปกรณ์ตัดผมและผลิตภัณฑ์แต่งผม |2. ผู้เรียนฝึกปฏิบัติกำหนดรูปแบบในการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย | | |

| | |1.5 การคำนวณราคาต้นทุนและการกำหนดราคาค่าบริการได้ |3. ศึกษาข้อมูลจริงจากการสัมภาษณ์ | | |

| | |2 เทศบัญญัติแต่งผมและการขออนุญาตเปิดร้าน |สอบถามจากสถานประกอบการในพื้นที่ | | |

| | | | | | |

| | | | | | |

| | | | | | |

| | | | | | |

| | | | | | |

|เรื่อง |จุดประสงค์การเรียนรู้ |เนื้อหา |การจัดกระบวนการเรียนรู้ |ชั่วโมง |

| | | | |ทฤษฎี |ปฏิบัติ |

|4. โครงการประกอบอาชีพ |1. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการเขียนโครงการอาชีพ |ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการอาชีพ การวางแผน และแผนธุรกิจ |1. ให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้ เรื่องการเขียนโครงการอาชีพ |3 |3 |

|ธุรกิจตัดผมชาย |2. เพื่อให้ผู้เรียนวางแผนการเขียนโครงการ |1. ความสำคัญของโครงการอาชีพ |2. ผู้เรียนและวิทยากรร่วมสนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูลความคิดเห็น | | |

|จำนวน 6 ชั่วโมง |แผนธุรกิจได้ |2. การวางแผนและการเขียนโครงการ แผนธุรกิจ |3. ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการอาชีพ | | |

| |3. |3. ประโยชน์ของโครงการอาชีพ |4. ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติการประเมินความ | | |

| |เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเขียนโครงการอาชีพได้เหมาะสมแ|4. องค์ประกอบของโครงการอาชีพ |เหมาะสมและสอดคล้องของโครงการ | | |

| |ละถูกต้อง | |อาชีพ | | |

| |4. |การเขียนและการประเมินโครงการอาชีพ |5. วิทยากรประเมินโครงการอาชีพ | | |

| |เพื่อให้ผู้เรียนสามารถตรวจสอบความเหมาะสมและความ|1. การเขียนโครงการอาชีพ |แล้วให้ผู้เรียนปรับปรุงโครงการอาชีพให้มีความเหมาะสมและถูกต้อง | | |

| |สอดคล้องของโครงการอาชีพได้ |2. การประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องของโครงการอาชีพ |6. | | |

| | | |ให้ผู้เรียนเขียนโครงการอาชีพของตนเองเพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนงบปร| | |

| | | |ะมาณดำเนินงานอาชีพ และใช้ในการดำเนินการประกอบอาชีพต่อไป | | |

รายละเอียดคำอธิบายรายวิชา ช่างตัดผมชาย จำนวน 1 หน่วยกิต

ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษาตอนต้น/มัธยมศึกษาตอนปลาย

มาตรฐานที่ 3.1 มีความรู้ ความเข้าใจและเจตคติที่ดีในงานอาชีพ มองเห็นช่องทางและการตัดสินใจ ประกอบอาชีพได้ตามความต้องการและศักยภาพของตนเอง

3.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในอาชีพที่ตัดสินใจเลือก

3.3 มีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการอาชีพอย่างมีคุณธรรม

ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้

ช่องทางการประกอบอาชีพช่างตัดผมชายมีเนื้อหาครอบคลุมความสำคัญในการประกอบอาชีพ ความเป็นไปได้ในการะกอบอาชีพ แหล่งเรียนรู้การประกอบอาชีพ ทิศทางพัฒนาการประกอบอาชีพช่างตัดผมชาย ทักษะการประกอบอาชีพ จรรยาบรรณการเป็นช่างตัดผมชายที่ดี ข้อมูลพื้นฐานของธุรกิจช่างตัดผม ความรู้พื้นฐานและเทคนิคต่างๆ ของการทำผม สระผม การตัดผม ซอยผม ย้อมผม และออกแบบทรงผม รวมทั้ง การตกแต่งร้าน เข้ากับสมัยนิยม และ ฝึกปฏิบัติจริง การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพ ตลอดจนการเขียนโครงการประกอบอาชีพ การวางแผน แผนธุรกิจ การตรวจสอบและการประเมินโครงการ

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้

ให้ผู้เรียนศึกษาภาคทฤษฎี จากเอกสารสิ่งพิมพ์ /ใบความรู้/ CVD DVD และจากวิทยากรผู้สอน ผู้รู้ การฝึกปฏิบัติจริง การทดสอบ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

การวัดและประเมินผล

ประเมินจากกระบวนการเรียนรู้ตามสภาพความเป็นจริง โดย

1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฎีระหว่างเรียนและจบหลักสูตร

2. การประเมินผลระหว่างเรียนจากการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพเพียงพอ สามารถสร้างรายได้ให้กับตนเอง ความสำเร็จของการปฏิบัติ

รายละเอียดคำอธิบายรายวิชา ช่างตัดผมชาย จำนวน 1 หน่วยกิต

ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษาตอนต้น/มัธยมศึกษาตอนปลาย

มาตรฐานที่ 3.1 มีความรู้ ความเข้าใจและเจตคติที่ดีในงานอาชีพ มองเห็นช่องทางและการตัดสินใจ ประกอบอาชีพได้ตามความต้องการและศักยภาพของตนเอง

3.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในอาชีพที่ตัดสินใจเลือก

3.3 มีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการอาชีพอย่างมีคุณธรรม

|ที่ |หัวเรื่อง |ตัวชี้วัด |เนื้อหา |จำนวนชั่วโมง |

|1 |ช่องทางการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย |1. |1. ความสำคัญในการเลือกประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย |6 |

| |6 ชม |บอกและอธิบายความสำคัญในการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผม| | |

| | |ชายได้ |2. ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย | |

| | |2. | | |

| | |วิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมช|3. แหล่งเรียนรู้การประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย | |

| | |าย | | |

| | |3. |4. ทิศทางในการพัฒนาการประกอบอาชีพตัดผมชาย | |

| | |บอกและหาแหล่งเรียนรู้ในการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชา| | |

| | |ย | | |

| | |4. | | |

| | |บอกทิศทางในการพัฒนาการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย | | |

|2 |ทักษะการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย 32 |1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ อธิบายหลักการ |ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดผม | |

| |ชม. |และวิธีการของช่างตัดผมชาย ได้อย่างถูกต้อง |1. คุณสมบัติที่ดีของช่างตัดผม |3 |

| | |2. ผู้เรียนสามารถเลือกซื้อ จัดเตรียม ใช้ |1.1 จรรยาบรรณของช่างตัดผม | |

| | |และบำรุงรักษาเครื่องมือเครื่องใช้ |1.2 อนามัยเกี่ยวกับสุขภาพ | |

| | |และอุปกรณ์ในการตัดผมชายได้ |1.3 อนามัยเกี่ยวกับบุคลิกภาพ | |

| | |3. ผู้เรียนสามารถตัดผมทรงต่างๆ |1.4 อุปนิสัยของช่างตัดผม | |

| | |ได้อย่างเหมาะสมกับบุคลิกและใบหน้าได้ |1.5 การสุขาภิบาลของสถานที่ตัดผม | |

| | |4. ผู้เรียนสามารถสระผม ตัดผม ย้อมผม โกรกผม |1.6 การปฐมพยาบาลเบื้องต้น | |

| | |กัดสีผม ได้ถูกต้อง |2. การเตรียมและการใช้วัสดุอุปกรณ์การตัดผมและการบำรุงรักษา |3 |

| | |5. ผู้เรียนสามารถซอยผม และไดร์ผมลักษณะฟรีสไตล์ |3. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผมและผิวหนัง | |

| | |ได้ถูกต้อง |3.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผม |3 |

| | |6. ผู้เรียนมีทักษะการจัดการ การทำงาน |3.2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผิวหนัง | |

| | |และสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมปัจจุบัน |4 การตัดผมชาย 3 ทรงผมมาตรฐาน | |

| | |และเตรียมตัวพร้อมเข้าสู่การประกอบอาชีพในอนาคตได้ |4.1.การตัดผมมาตรฐานทรงสูง | |

| | | |4.1.1 ผมทรงนักเรียน |3 |

| | | |4.1.2 ผมทรงสูงกระทุ่มสั้น | |

| | | |4.1.3 ผมทรงกระทุ่มยาว | |

| | | |4.1.4 ผมทรงสูงไว้หวี | |

| | | |4.2. การตัดผมทรงกลาง | |

| | | |4.2.1 ทรงกลาง รองทรงอังกฤษ ชั้นเดียว (รองทรงสูง) |3 |

| | | |4.2.2 ทรงกลาง รองทรงอังกฤษ สองชั้น (รองทรงต่ำ) | |

| | | |4.3. การตัดผมทรงต่ำ | |

| | | |4.3.1 ผมทรงต่ำ จอนบาง | |

| | | |4.3.2 ผมทรงต่ำ จอนหนา | |

| | | |5. การออกแบบทรงผม |3 |

| | | |5.1 การซอยผม | |

| | | |5.1.1. การซอยผมฟรีสไตล์ | |

| | | |5.1.2 การซอยผมตามสมัยนิยม | |

| | | |5.1.3 การซอยผมรากไทร |3 |

| | | |5.1.4 การสไลด์ผมด้วยกรรไกรและมีดโกน | |

| | | |5.2 การดัดผม | |

| | | |5.2.1 หลักการดัดผม | |

| | | |5.2.2 การดัดผมให้ตั้ง | |

| | | |5.2.3 การดัดผมสมัยนิยม | |

| | | |5.3 การย้อมสีผม |3 |

| | | |5.3.1 หลักการย้อมสีผม | |

| | | |5.3.2 การย้อมสีผมธรรมดา | |

| | | |5.3.3 การย้อมสีผมตามสมัยนิยม | |

| | | |5.4 การสระ-ไดร์ผมและการนวดเพื่อสุขภาพ | |

| | | |5.4.1 การสระผม – ไดร์ | |

| | | |5.4.2 การสระผมดัด,ผมย้อม | |

| | | |5.4.3 การนวดศรีษะ | |

| | | |5.4.4 การไดร์ผมฟรีสไตล์ |3 |

| | | |5.4.5 การไดร์ผมตามสมัยนิยม | |

| | | | | |

| | | | | |

| | | | |5 |

| | | | | |

| | | | | |

| | | | | |

| | | | | |

| | | | | |

| | | | | |

|3 |การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพธุรกิจ|1. |1. การประกอบอาชีพ |6 |

| |ตัดผมชาย |สามารถบริหารจัดการในการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชาย|1.1 การเลือกทำเลที่ตั้ง | |

| | |ได้ |1.2 การจัดตกแต่งหน้าร้าน | |

| | |2. สามารถกำหนดรูปแบบ |1.3 การบริการ | |

| | |ในการประกอบอาชีพธุรกิจตัดผมชายได้ |1.4 การจัดการ จัดซื้ออุปกรณ์ตัดผมและผลิตภัณฑ์แต่งผม | |

| | | |1.5 การคำนวณราคาต้นทุนและการกำหนดราคาค่าบริการได้ | |

| | | |2 เทศบัญญัติแต่งผมและการขออนุญาตเปิดร้าน | |

|4 |โครงการประกอบอาชีพธุรกิจเสริมสวย |1. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการเขียนโครงการอาชีพ |1. ความสำคัญของโครงการอาชีพ |3 |

| |4.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการอาชีพ|2. เพื่อให้ผู้เรียนวางแผนการเขียนโครงการ |2. การวางแผนและการเขียนโครงการ แผนธุรกิจ | |

| |การวางแผน และแผนธุรกิจ |แผนธุรกิจได้ |3. ประโยชน์ของโครงการอาชีพ | |

| | |3. |4. องค์ประกอบของโครงการอาชีพ | |

| | |เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเขียนโครงการอาชีพได้เหมาะสมแล| | |

| | |ะถูกต้อง | | |

| |4.2 |1. |1. การเขียนโครงการอาชีพ |3 |

| |การเขียนและการประเมินโครงการอาชีพ |เพื่อให้ผู้เรียนสามารถตรวจสอบความเหมาะสมและความส|2. การประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องของโครงการอาชีพ | |

| | |อดคล้องของโครงการอาชีพได้ | | |

แบบโครงการอาชีพ

1. ชื่อโครงการอาชีพ

2. ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ (ลงชื่อ)

3. ที่ปรึกษา 1.

2.

4. หลักการและเหตุผล.

5. วัตถุประสงค์

6. เป้าหมาย

ด้านปริมาณ

ด้านคุณภาพ

7. ขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน

การเตรียมการ

การเตรียมสถานที่

การดำเนินงาน

8. ระยะเวลาดำเนินโครงการ

9. สถานที่ประกอบการ

10. รูปแบบผลิตภัณฑ์/บริการ

|ผลิตภัณฑ์/บริการ |ลักษณะเด่น |

|1. |1. |

|2. |2. |

|3. |3. |

11. การวางแผนบริหารจัดการ

แผนการตลาด

แผนการผลิต

แหล่งวัตถุดิบ

แผนบริหารจัดการ

12. ประมาณการต้นทุนการผลิตและการกำหนดราคาจัดจำหน่าย

|ผลิตภัณฑ์/บริการ |ต้นทุน |ราคาขาย |ราคาขายของคู่แข่ง (ถ้ามี) |

|1. |1. |1. |1. |

|2. |2. |2. |2. |

|3. |3. |3. |3. |

13. ประมาณการรายรับและรายจ่ายในการประกอบอาชีพต่อเดือน

|รายรับ |บาท |ราคาจ่าย |บาท |

|จากยอดขาย | |ค่าเช่าสถานที่ | |

|จากรายได้อื่น | |ค่าวัตถุดิบ/วัสดุเพื่อผลิต | |

| | |ค่าแรงงาน | |

| | |ค่าสาธารณูปโภค | |

| | |(ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์) | |

| | |ค่าใช้จ่ายอื่น | |

| | |.... | |

14.ทรัพยากร/งบประมาณ

ทรัพยากร

งบประมาณ

15. แผนการปฏิบัติงาน

|กิจกรรมดำเนินงาน |ปี พ.ศ. |หมายเหตุ |

| |มค. |

|1. อาหารสำเร็จรูป |1. สด ใหม่ สะอาด |

|2. อาหารปิ่นโต |2. ราคาไม่แพง |

|3. อาหารสำหรับงานเลี้ยงเล็กๆ ตามเทศกาล |3. ทำจากวัตถุดิบในท้องถิ่น |

11. การวางแผนบริหารจัดการ

11.1 แผนการตลาด

1) ลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย

1. ลูกค้าในชุมชนที่ทำงานนอกบ้าน ได้แก่ พนักงานบริษัท ห้างร้าน ข้าราชการ ประชาชนทั่วไป

2. กลุ่มจัดเลี้ยง เช่น งานสังสรรค์ งานวันเกิด วันสำคัญอื่นๆ

3. ลูกค้าจากชุมชนอื่นๆ

2) การโฆษณา

1. แผ่นพับใบปลิว

2. ติดป้ายโฆษณาตามสถานที่ต่าง ๆ ในตัวเมือง ตลาด และชุมชนใกล้เคียง

3. การบอกต่อ

3) ประชาสัมพันธ์

- ในวันเปิดกิจการวันแรก ทางร้านจะมีการแจกของชำร่วยให้ลูกค้าที่มารับประทานอาหารในร้านและซื้อกลับบ้าน

4) การส่งเสริมการขาย

- ซื้ออาหาร 5 อย่าง/ครั้ง แถม น้ำพริก 1 ถุง

- บัตรสะสมแต้ม ซื้ออาหารครบ 20 ครั้ง แถม แกง 1 ถุง

11.2 แผนการผลิต

1. เน้นความหลากหลายของอาหาร

2. เน้นคุณภาพ สด ใหม่ รสชาติดี อร่อยคงที่สม่ำเสมอ

3. มีการบริการจัดเลี้ยงนอกสถานที่

11.3 แหล่งวัตถุดิบ

1. วัตถุดิบในท้องถิ่น

2. วัตถุดิบตามฤดูกาล

3. วัตถุดิบที่เป็นอาหารสดต้องจัดการหมุนเวียนวันต่อวัน ส่วนอาหารแห้งสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

11.4 แผนบริหารจัดการ

1. เป็นธุรกิจในครัวเรือน

2. ลูกค้าสะดวกสบาย มีที่จอดรถ

12. ประมาณการต้นทุนการผลิตและการกำหนดราคาจัดจำหน่าย

|ผลิตภัณฑ์/บริการ |ต้นทุน (บาท) |ราคาขาย (บาท) |ราคาขายของคู่แข่ง (ถ้ามี) |

|1. แกง |20 บาท |25 บาท |30 บาท |

|2. ต้มยำ |25 บาท |30 บาท |30 บาท |

|3. ผัดผักรวมมิตร |20 บาท |25 บาท |30 บาท |

|4. ต้มจืด |20 บาท |25 บาท |30 บาท |

|5. น้ำพริก |20 บาท |25 บาท |25 บาท |

13. ประมาณการรายรับและรายจ่ายในการประกอบอาชีพต่อเดือน

|รายรับ |บาท |ราคาจ่าย |บาท |

|จากยอดขาย |30,000 - |ค่าเช่าสถานที่ |ไม่มี |

|จากรายได้อื่น |3,000 - |ค่าวัตถุดิบ/วัสดุเพื่อผลิต |15,000 - |

| | |ค่าแรงงาน |5,000 - |

| | |ค่าสาธารณูปโภค |800 - |

| | |(ค่าน้ำ ค่าไฟ | |

| | |ค่าโทรศัพท์) | |

| | |ค่าใช้จ่ายอื่น |500 - |

|รวม |33,000- |รวม |21,000 - |

14. ทรัพยากร / งบประมาณ

ทรัพยากร

- ใช้คนในครอบครัว

- ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ เครื่องครัว ที่มีอยู่แล้ว

งบประมาณ

- จำนวนเงินทุนที่ขอรับการสนับสนุน เริ่มโครงการ 5,000 บาท

15. แผนการปฏิบัติงาน

|กิจกรรมดำเนินงาน |ปี พ.ศ. 2555 |หมายเหตุ |

| |มค. |กพ. |มีค. |เมย. |พค. |มิย. |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

จำนวน...................................................วัน จำนวน....................................ชั่วโมง

ลงชื่อ.......................................หัวหน้าผู้รับผิดชอบ

(.........................................................)

บัญชีลงเวลาเรียนของผู้เรียน

ชื่อสถานศึกษา .....................................................................................................................

วันที่..................เดือน ......................................พ.ศ.................

หลักสูตร/วิชา ........................................................................................................จำนวน..............ชั่วโมง

สถานที่จัด..........................................................................................................

|ที่ |เลขประจำตัวประชาชน |ชื่อ – สกุล |ลายมือชื่อ |เวลามา |เวลากลับ |หมายเหตุ |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

| | | | | | | |

จำนวนเต็ม...........................คน มา...............................คน ขาด....................................คน

ลงชื่อ............................................วิทยากร/ผู้สอน

(................................................)

แบบบันทึกผลระหว่างเรียน/กิจกรรม

ชื่อสถานศึกษา .............................................................................................

ชื่อหลักสูตรอาชีพเพื่อการมีงานทำ/วิชา .......................................................................................................

ดำเนินการระหว่างวันที่..........................................................ถึงวันที่..........................................................

บันทึกประจำวันที่..................เดือน ......................................พ.ศ.................

หรือประจำเดือน.......................................................................................................

|ว/ด/ป |เนื้อหาสาระ/กิจกรรม |ผลที่คาดว่าผู้เรียนจะได้รับ |หมายเหตุ |

| | | | |

| | | | |

| | | | |

| | | | |

| | | | |

| | | | |

| | | | |

| | | | |

| | | | |

| | | | |

| | | | |

| | | | |

ลงชื่อ............................................วิทยากร/ผู้สอน

(................................................)

วันที่......................เดือน.............................พ.ศ. ...............

เจ้าหน้าที่ตรวจเยี่ยมและนิเทศ

บันทึก ข้อเสนอแนะ/ปัญหาอุปสรรค/อื่น ๆ

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...........................................ผู้ตรวจเยี่ยม/นิเทศ

(................................................)

วันที่......................เดือน.............................พ.ศ. ...............

แบบประเมินและรายงานผลการจบหลักสูตรอาชีพเพื่อการมีงานทำ

วิชา..............................(1)..................................จำนวน............(2)................ชั่วโมง

ระหว่างวันที่ .............................(3)..............................ถึง..........................(4).....................................

ณ ..........................(5)......................................จังหวัด...............(6)..............

|ที่(7) |เลขประจำตัวประชาชน(8|ชื่อ-สกุล |คะแนนระหว่างเรียน |วัดผลจากการจบหลักสูตร |คะแนนที่ไ|ระดับผลก|

| |) |(9) | | |ด้รับ |ารเรียนข|

| | | | | |1+2 |องผู้เรียน|

| | | | | |(20) |(21) |

| | |ความคิดริเริ่ม (10) |ด้านการมีส่วนร่วม (11) |ด้านความรู้ (12) |ด้านทักษะ (13) |ด้านคุณธรรม/จริยธรรม (14) ((Z(14) |แบบความรู้/ทักษะ (15) |รวม 1 (16) |แบบวัดความรู้ (17) |แบบประเมินทักษะ (18) |รวม 2 (19) | | | | | | | | | | | | | | | | | | | |หมายเหตุ การประเมินผลการจบหลักสูตรอาชีพเพื่อการมีงานทำอาจดำเนินการได้ดังนี้

1. ประเมินผลระหว่างเรียนและวัดผลตอนจบ

2. ประเมินครั้งเดียวก่อนจบหลักสูตร

ทั้งนี้ การประเมินการจบหลักสูตรให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าสถานศึกษา

ลงชื่อ.........................(22).......................ครูผู้สอน/วิทยากร

(....................................................................)

ลงชื่อ..........................(23)........................ผู้รับผิดชอบ/โครงการ ลงชื่อ..........................(24)......................ผู้อนุมัติ

(.................................................................) (............................................................)

คำอธิบายแบบประเมินและรายงานผลการจบหลักสูตรอาชีพเพื่อการมีงานทำ

1) หมายถึง ชื่อวิชาที่เรียน

2) หมายถึง หลักสูตรนั้นใช้ระยะเวลาเรียนจำนวนทั้งหมด.............ชั่วโมง

3) หมายถึง ระยะเวลาเรียนตั้งแต่เริ่มของหลักสูตร

4) หมายถึง ระยะเวลาสิ้นสุดของหลักสูตร

5) หมายถึง สถานที่เรียนของหลักสูตรนั้น ๆ

6) หมายถึง จังหวัดที่ตั้งของสถานศึกษา

7) หมายถึง ลำดับที่ในการสมัครและลงทะเบียนเรียนของผู้เรียน

8) หมายถึง เลขประจำตัวประชาชน (13 หลัก) ของผู้เรียน

9) หมายถึง ชื่อและนามสกุลของผู้เรียน

ข้อ 10-16 หมายถึง คะแนนระหว่างเรียนของผู้เรียนประกอบด้วย

10) หมายถึง ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ความรู้ เนื้อหาและความชำนาญการ

11) หมายถึง การมีส่วนร่ม การเข้าร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ หรือเวลาเรียนตลอดระยะเวลาในหลักสูตรนั้น ๆ

12) หมายถึง ด้านความรู้ที่ผู้เรียนได้รับในหลักสูตรนั้น ๆ

13) หมายถึง ด้านทักษะหรือการปฏิบัติจริงจนเกิดประสบการณ์และความชำนาญการ ในเนื้อหาชิ้นงาน ผลงานของหลักสูตรนั้น ๆ

14) หมายถึง ด้านคุณธรรม/จริยธรรม ที่ก่อให้เกิดการพัฒนาและการสร้างสรรค์ต่อสังคมหรือชุมชน ที่สอดคล้องกับหลักสูตร

15) หมายถึง แบบทดสอบทั้งด้านความรู้และความสามารถในการปฏิบัติของผู้เรียน

16) หมายถึง ผลคะแนนรวมทั้งหมดระหว่างเรียนตั้งแต่ (10) – (15)

17) หมายถึง การประเมินก่อนจบของผู้เรียนด้านความรู้

18) หมายถึง การประเมินผู้เรียนก่อนจบของผู้เรียนด้านความชำนาญและความสามารถ

19) หมายถึง ผลคะแนนรวมของ (17) + (18)

20) หมายถึง ผลการประเมินของผู้เรียนตั้งแต่เริ่มเรียนจนจบหลักสูตร (16) + (19)

21) หมายถึง ระดับผลการเรียนของผู้เรียน

22) หมายถึง ครูผู้สอน/วิทยากรที่ลงชื่อกำกับแบบประเมินและรายงานผล

23) หมายถึง ผู้รับผิดชอบ/โครงการ

24) หมายถึง ผู้อนุมัติได้แก่ หัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

คำร้องขอรับหนังสือรับรองความรู้หลักสูตรอาชีพเพื่อการมีงานทำ

สถานศึกษา.......................................................................จังหวัด............................................

----------------------------------

วันที่ ......... เดือน ...................... พ.ศ. ...............

เรื่อง ขอหนังสือรับรองความรู้หลักสูตรอาชีพเพื่อการมีงานทำ

เรียน ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ................................

ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว) ...........................................................

มีความประสงค์ขอรับหนังสือรับรองความรู้หลักสูตรอาชีพเพื่อการมีงานทำ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ

...............................................................................................................................................................

โดยข้าพเจ้าได้เข้าร่วมกิจกรรมหลักสูตรอาชีพเพื่อการมีงานทำ คือ หลักสูตรอาชีพเพื่อการมีงานทำวิชา .............จำนวน ..............ชั่วโมง ตั้งแต่วันที่.........เดือน ..........................พ.ศ. ................

ถึงวันที่....................................เดือน.......................................พ.ศ. ....................

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาออกหนังสือรับรองความรู้หลักสูตรอาชีพเพื่อการมีงานทำด้วยจักเป็นพระคุณยิ่ง

ขอแสดงความนับถือ

ลงชื่อ .............................................ผู้ขอรับ

(..............................................................)

......................./........................../..................

สำหรับเจ้าหน้าที่

เรียน ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ................................

ความเห็นของเจ้าหน้าที่ ..........................................................................................

.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ .............................................เจ้าหน้าที่

(..............................................................)

............/........................../..................

แบบหนังสือรับรอง แบบที่ 10

(2)

เลขที่ ...............(1).................. (ส่วนราชการเจ้าของหนังสือ)

(ข้อความ) หนังสือฉบับนี้ให้ไว้เพื่อรับรองว่า (ระบุชื่อบุคคล นิติบุคคลหรือหน่วยงานที่จะให้การรับรองพร้อมทั้งลงตำแหน่งและสังกัด หรือที่ตั้ง แล้วต่อด้วยข้อความที่รับรอง)

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................(3)...........................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

ให้ไว้ ณ วันที่ .............เดือน..............(4)........พ.ศ. ...................

(ส่วนนี้ใช้สำหรับเรื่องสำคัญ)

ลงชื่อ.....................(5)........................

(พิมพ์ชื่อเต็ม)

(ตำแหน่ง) (6)

(ประทับตราชื่อส่วนราชการ)

(ลงชื่อผู้ได้รับการรับรอง)

(พิมพ์ชื่อเต็ม)

คำอธิบาย แบบหนังสือรับรอง

หนังสือรับรอง คือ หนังสือที่ส่วนราชการออกให้เพื่อรับรองแก่ บุคคล นิติบุคคล หรือหน่วยงาน เพื่อวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดให้ปรากฏแก่บุคคลโดยทั่วไปไม่จำเพาะเจาะจง ใช้กระดาษตราครุฑ และให้จัดทำตามแบบที่ 10 โดยกรอกรายละเอียดดังนี้

1. เลขที่ ให้ลงเลขที่หนังสือรับรองโดยเฉพาะ เริ่มต้นตั้งแต่เลข 1 เรียงเป็นลำดับไปจนถึงสิ้นปีปฏิทิน ทับเลขปีพุทธศักราชที่ออกหนังสือรับรอง หรือลงเลขที่ของหนังสือทั่วไปตามแบบหนังสือภายนอกอย่างหนึ่งอย่างใด

2. ส่วนราชการเจ้าของหนังสือ ให้ลงชื่อของส่วนราชการซึ่งเป็นเจ้าของหนังสือนั้นและจะลงสถานที่ตั้งของส่วนราชการเจ้าของหนังสือด้วยก็ได้

3. ข้อความ ให้ลงข้อความขึ้นต้นว่า หนังสือฉบับนี้ให้ไว้เพื่อรับรองว่า แล้วต่อด้วยชื่อบุคคล นิติบุคคล หรือหน่วยงานที่ทางราชการรับรอง ในกรณีเป็นบุคคลให้พิมพ์ชื่อเต็ม โดยมีคำนำหน้านาม ชื่อ นามสกุล ตำแหน่งหน้าที่ และสังกัดหน่วยงานที่ผู้นั้นทำงานอยู่อย่างชัดแจ้ง แล้วจึงลงข้อความที่รับรอง

4. ให้ไว้ ณ วันที่ ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปีพุทธศักราช ที่ออกหนังสือรับรอง

5 ลงชื่อ ให้ลงลายมือชื่อหัวหน้าส่วนราชการผู้ออกหนังสือ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายและพิมพ์ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อไว้ได้ลายมือชื่อ

6. ตำแหน่ง ให้ลงตำแหน่งของผู้ลงลายมือชื่อในหนังสือ

7. รูปถ่ายและลายมือชื่อผู้ได้รับการรับรอง ในกรณีที่การรับรองเป็นเรื่องสำคัญที่ออกให้แก่บุคคลให้ติดรูปถ่ายของผู้ที่ได้รับการรับรอง ขนาด 4 x 6 เซนติเมตร หน้าตรง ไม่สวมหมวก ประทับตราชื่อส่วนราชการที่ออกหนังสือบนขอบล่างด้านขวาของรูปถ่ายคาบต่อลงบนแผ่นกระดาษและให้ผู้นั้นลงลายมือชื่อไว้ใต้รูปถ่ายพร้อมทั้งพิมพ์ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อด้วย

เลขที่ .................................

กระทรวงศึกษาธิการ

ใบสำคัญฉบับนี้ให้ไว้เพื่อแสดงว่า

..............................................

ได้รับการฝึกวิชา...................................................................................................................เป็นเวลา.............................ชั่วโมง

จาก .....................................................................................................................ในความอำนวยการของกระทรวงศึกษาธิการ

ระหว่างวันที่ .............เดือน..........................พ.ศ. ............... ถึงวันที่ .................. เดือน ..........................พ.ศ..........................

ขอให้มีสุขสวัสดิ์เจริญเทอญ

ให้ไว้ ณ วันที่ .............เดือน..............(4)........พ.ศ. ...................

เจ้าพนักงานทะเบียน ตำแหน่ง..............................................................

ลายมือชื่อผู้รับใบสำคัญ.......................................... .................................เขียน

วันรับใบสำคัญ........................................... .................................ทาน

.................................ตรวจ

ผู้จัดทำ

ที่ปรึกษา

นายบุญโชค พลดาหาญ ผอ.สำนักงาน กศน.จังหวัดเลย

คณะยกร่างหลักสูตร

1. นายดุลยนัย ยมดำ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเมืองเลย

2. นางณัฐญา คำสิงห์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอวังสะพุง 3. นางปิยะนุช กุณวงษ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเอราวัณ 4. นายประเด็จ แปลงกันทา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเชียงคาน 5. นายพรศักดิ์ ธรรมวานิช ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอภูหลวง 6. นายเพชรตะบอง ไพศูนย์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอด่านซ้าย 7. นายสุพัฒน์ สุวรรณสิงห์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอท่าลี่ 8. นางสาวสังวาล สุวรรณโสภา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอผาขาว 9. ว่าที่ ร.ต.หญิงทิวาพร จูมศรีสิงห์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอภูกระดึง

10. นางวิไลวรรณ ไชยโสภา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอนาแห้ว

11.นางสาวสมร พงษ์พันธ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอหนองหิน 12. นายชาญวิทย์ จักรไชย ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอภูเรือ 13 ว่าที่ ร.ต.ศุภสัณห์ ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอนาด้วง

14.นายกิตติพงษ์ โกษาจันทร์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอปากชม

รวบรวม/ออกแบบ/พิมพ์

นายสุพัฒน์ สุวรรณสิงห์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอท่าลี่

-----------------------

19

15

14

13

12

453

45

44

43

42

41

40

39

3823

37

36

35

34

33

106

9

8

32

31

30

28

272

26

25

24

23

22

21

20

18

17

16

29

110

9

8

7

6

5

4

3

2

1

[pic]

รูปถ่าย

[pic]

[pic]

รูปถ่าย

................
................

In order to avoid copyright disputes, this page is only a partial summary.

Google Online Preview   Download